หลักสาราณิยธรรมกับการบริหารการศึกษา

ผู้แต่ง

  • พระมหาบรรจง ศรีสุข มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • จุฬาพรรภรณ์ ธนะแพทย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • พระครูศรีปรีชากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • จิรารัตน์ พิมพ์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์

คำสำคัญ:

หลักสาราณิยธรรม, การบริหารการศึกษา

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักสาราณิยธรรมกับการบริหารการศึกษา จากประเด็นที่ศึกษาพบว่าหลักสาราณิยธรรมนั้นเป็นหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้เมื่อสองพันห้าร้อยกว่าปีมาแล้วเนื้อหาหลักของสาราณิยธรรมคือ เมตตากายกรรม มีความสุภาพอ่อนอ่อนน้อมต่อกัน เมตตาวจีกรรม สนทนา เจรจาสอนงานด้วยความหวังดีต่อกัน เมตตามโนกรรม  มองกันในแง่ดีมีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใสต่อกัน สาธารณโภคี ใส่ใจงานของส่วนรวม ทำงานร่วมกันด้วยความสุข สีลสามัญญตา มีความประพฤติสุจริตดีงาม ถูกต้องตามระเบียบวินัย ทิฏฐิสามัญญตา มีความเห็นชอบร่วมกัน หลักสาราณิยธรรมสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการบริหารการศึกษาทั้งสี่ด้านซึ่งประกอบด้วย การบริหารวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณและการบริหารทั่วไป กระบวนการบริหารการศึกษาทั้งสี่ด้านนี้ประยุกต์เข้ากันได้กับหลักสาราณิยธรรมได้อย่างลงตัว

References

เอกสารอ้างอิง

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2545). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อส่งเสริมกรุงเทพ.

ธีระ รุญเจริญ. (2546). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสำนักพิมพ์ข้าวฟ่างจำกัด.

ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ และวิบูลย์ โตวณะบุตร. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

ธีระ รุญเจริญ. (2553). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ธนาเพลส.

พระมหาประเสริฐ สุเมโธ (เพชรศรี) และนายปิยวัฒน์ คงทรัพย์. (2559). “สาราณียธรรม : หลักธรรมในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย”. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1(5) (สิงหาคม พ.ศ. 2558 – มกราคม พ.ศ. 2559).

อัครพล นกทอง. “แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักสาราณียธรรม 6 ของโรงเรียนในอำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์”. บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์. ปีที่ 9 ฉบับที่ (มกราคม - เมษายน 2564).

พิเชษฐ์ โพดาพล. “การบริหารตามหลักสาราณียธรรมขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด”. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 1 ฉบับที่่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564).

เผยแพร่แล้ว

2022-06-25