ผู้นำและภาวะผู้นำ ที่พึงประสงค์

ผู้แต่ง

  • พระมหายุทธพิชาญ โยธสาสโน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • พระครูเกษมอาจารสุนทร
  • พระครูสุธรรมกิจโกศล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • พรพิมล โพธิ์ชัยหล้า มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

ผู้นำ, ภาวะผู้นำ,

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหารงานต่างๆ ให้บรรลุถึงจุดเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้นั้นก็คือภาวะผู้นำ ถ้าผู้นำมีความสามารถในการเป็นผู้นำ เช่น มีความรู้ มีคุณธรรม มีความสามารถรอบด้านหรือมีภาวะผู้นำที่เหมาะสมแล้ว ย่อมทำให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้ที่ทำหน้าที่ผู้นำนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องศึกษา ทักษะต่างๆ ในการเป็นผู้นำ การที่จะเป็นผู้นำที่ดีได้นั้น ไม่ใช่เรื่องง่ายและไม่ใช่เรื่องยาก หากผู้นำ มีคุณธรรม มีความสามารถ มีทักษะ และประสบการณ์  ผู้นำควรมีลักษณะเด่น  ดังนี้1) ผู้นำ คือ ผู้ที่มีอิทธิพลในทางที่ถูกต้องต่อการกระทำของผู้อื่น 2) ผู้นำ คือ ผู้ที่มีอิทธิพลในทางที่ถูกต้องต่อการกระทำของผู้อื่นมากกว่าคนอื่นในกลุ่มที่ปฏิบัติงานอยู่ 3) ผู้นำ คือ ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งจากกลุ่มเพื่อเป็นหัวหน้า 4) ผู้นำ คือ ผู้ที่ใช้อิทธิพลในการกำหนดเป้าหมายให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม 5) ผู้นำ คือ ผู้ซึ่งได้รับตำแหน่งในสำนักงานและมีอิทธิพลในตัวสูง

References

สงวน นิตยารัมภ์พงศ์.(2554). ภาวะผู้นำ เพื่อการบริหารคุณภาพสู่ความเป็นเลิศ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มติชน.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). ภาวะผู้นำ : ความสำคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).(2559). พุทธวิธีการบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). (2548). หลักธรรมาภิบาลและประมุขศิลป์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มงคลชัยพริ้นติ้ง.

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2558). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วินดาต้า โปรดักส์.

พระศรีปริยัติโมลี (สมชัย กุสลจิตฺโต). (2558). สงฆ์ผู้นำสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูสิริจันทนิวิฐ (บุญจันทร์ เขมกาโม). (2559). ภาวะผู้นำเชิงพุทธ. กรุงเทพฯ: นิติธรรมการพิมพ์.

กวี วงศ์พุฒ. (2555). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาชีพบัญชี.

เดโช สวนานนท์.(2558). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ถวิล ธาราโภชน์. (2552). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2554). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมฯ: บพิธการพิมพ์.

นิตย์ สัมมาพันธ์. (2556). ภาวะผู้นำพลังขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: บริษัท อินโนกราฟฟิกส์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.

กิติ ตยัคคานนท์. (2550). เทคนิคการสร้างภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: เชษฐการพิมพ์.

ฉายศิลป์ เชี่ยวชาญพิพัฒน์ และคณะ.(2557).การบริหาร.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เถาวัลย์ นันทาภิวัฒน์. (2551). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทองอินทร์ วงศ์โสธร. (2554). หลักและระบบบริหาร. พิมพ์ครั้งที่15. นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ธวัช บุณยมณี. (2565). ภาวะผู้นำที่ดีเลิศ. ออนไลน์, [แหล่งที่มา]: http://www.pochanukul.com, [23 กันยายน 2565].

นิตย์ สัมมาพันธ์. (2556).ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: อินโนกราฟฟิกส์.

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2554). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.

วิทูล แจ่มกลิ้ง. (2557). “พฤติกรรมผู้นำที่ควรจะเป็นของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษา”วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ศิริพร พงษ์ศรีโรจน์. (2550). องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: เทคนิค 19.

สมัย จิตต์หมวด. (2557). พฤติกรรมผู้นำ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2559). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ : แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุรศักดิ์ ม่วงทอง. (2553). “พุทธธรรมกับภาวะผู้นำที่พึงประสงค์: ศึกษาเฉพาะกรณีกำนันและผู้ใหญ่บ้านจังหวัดนครศรีธรรมราช”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต. บัณทิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.

อุทัย หิรัญโต.(2553). หลักการบริหารบุคคล. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

Dubrin. (2545). ภาวะผู้นำ : ออนไลน์, [แหล่งที่มา]: http://www.pochanukul.com, [23 กันยายน 2565].

Rensis Likert. (1997). The Human Organization. New York: McGraw – Hill,1967.

BarbaraKelleman.(ed).(1984). Leadership as a Political Act, in Leadership Multidisciplinary Perspectives. New Jersey: Prentice – Hall.

Hodge Billey J. & Herbert J. Johnson.(1970). Management and Oganization Behavior.New York: John Willey & Sons.

Ralph M. Stogdill.(1967). Personal Factor Associated with Leaderpship Survey of Literature in leadership. Marryland Penguin Books.

นันทวรรณ อิสรานุวัฒน์ชัย. (2550).“ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์ : ศึกษาจากหลักพุทธธรรม”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Orway Tead.(1936). The Art of Leadership,7thed.New York: McGraw Hill Book.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-23