ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ตามหลักอิทธิบาท 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา

ผู้แต่ง

  • บรรจง ลาวะลี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์, หลักอิทธิบาท 4, ผู้บริหารสถานศึกษา

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอแนวคิดภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ตามหลักอิทธิบาท 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา จากการศึกษาแนวคิดองค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ ประกอบด้วย  5 องค์ประกอบ คือ 1) การสร้างวิสัยทัศน์ 2) การเป็นแบบอย่างที่ดี 3) การมีความคิดสร้างสรรค์ 4) การทำงานเป็นทีม และ 5) การเพิ่มพลังอำนาจ ซึ่งการนำหลักพุทธธรรมมาบูรณาการในการบริหารสถานศึกษาให้ประสบความสำเร็จจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง ด้วยเหตุนี้ในการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ควรมีหลักธรรมในการปฏิบัติงานให้ประสบผลสำเร็จ คือ หลักพุทธธรรมซึ่งมีคุณสมบัติทั้ง 4 ประการ ที่เรียกว่าอิทธิบาท 4 หรือ มูลฐานแห่งความสำเร็จในการปฏิบัติงาน 4 อย่างประกอบด้วย ฉันทะ (ความพอใจรักใคร ในสิ่งนั้น) วิริยะ (การกระทำบ่อยๆ ในสิ่งนั้น) จิตตะ (การคิดสิ่งนั้น) และวิมังสา (ประเมิน นิเทศ ทบทวน) ในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีความมุ่งหมายให้เกิดผลสำเร็จจึงควรยึดหลักอิทธิบาท 4 เป็นหลักในการปฏิบัติงานซึ่งช่วยให้การปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษามีประสิทธิภาพเพิ่มมากยิ่งขึ้น ในบทความนี้ผู้เขียนนำเสนอภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ตามหลักอิทธิบาท 4 ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 เพื่อเป็นแนวทางในการนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารสถานศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทและสภาพแวดล้อม เพื่อพัฒนาองค์การสถานศึกษาที่จะประสบความสำเร็จต่อไป

References

นิกัญชลา ล้นเหลือ. (2554). “โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน”. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2550). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: เซ็นทรัลเอ๊กซ์.

บุญทัน ดอกไธสง. (2558). การจัดการองค์การ. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูวิจิตรปัญญาภรณ์. (2565). “ภาวะผู้นําาเชิงพุทธในองค์การทางการศึกษาในยุคดิจิทัล”. วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์. 7(1): 37-45.

พระธรรมโกศาจารย์. (2551). พุทธวิธีการบริหาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์. (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: เอส อาร์ พริ้นติ้งแมสโปรดักส์.

พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). โครงสร้างอำนาจท้องถิ่น ความขัดแย้ง และการเปลี่ยนแปลง.กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงษ์การพิมพ์จำกด.

พุทธทาสภิกขุ. (2537). บทบาทของครูกับความอยู่รอดของสังคม. กรุงเทพฯ: ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2553). ผู้นําเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ : กระบวนทัศน์ใหม่และผู้นําใหม่ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภารดี อนันตนาวี. (2551). การวิเคราะหเสนทางปจจัยภาวะผูนําและบรรยากาศองคการที่สงผลตอ การบริหารจัดการที่ดีของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคตะวันออก. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา

วนิชชัย แสงหม่น, 2552). “ความสัมพันธระหวางภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดสระแกว”. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร.

วรลักษณ์ ชูกำเนิด. (2557). โรงเรียนแห่งชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู เพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูที่เน้นผู้เรียนเป็นหัวใจสำคัญ. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 25(1): 93-102.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดทิพยวิสุทธิ์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). การจัดระบบบริหารและสารสนเทศภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ข้อเสนอ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: สกศ.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม พ.ศ. 2566 – 2570. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

เสนาะ กลิ่นงาม. (2551). การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Bass, B. M. (1990). “From Transactional to Transformational Leadership Learning to Share the Vision”. Organizational Dynamics. 18: 19-32.

Hatch, T. (2009). The Outside-Inside Connection :Educational Leadership. New York: McGraw-Hill.

Kahan, Dan M. and Braman, Donald. (2008). The Self-Defensive Cognition of Self-Defense. American Criminal Law Review. 45(1): 1-65.

Leonard, S. H. (2008). “Measuring Cognitive and Psychological Engagement in Middle School Students”. D.Ed. Thesis. The University of South Dakota.

Nanus, B. (1992). Visionary Leadership : Creating a Compelling Sense of Direction forYour Organization. San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-27